วันสหประชาชาติ
สหประชาชาติ
เป็นองค์กรระหว่างประเทศ เลขาธิการคนปัจจุบันคือ นาย ตุลาคม ุน ชาวเกาหลีใต้ เข้ารับตำแหน่งเมื่อวันที่ ๑ ตุลาคม กราคม พ.ศ. ๒๕๕๐
ต่อจาก นายโคฟี อันนัน
สหประชาชาติ
ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ ๒๔ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๘๘ (ค.ศ. ๑๙๔๕) ภายหลังสงครามโลกครั้งที่สองสิ้นสุดลง
โดยความร่วมมือของประธานาธิบดีแห่งสหรัฐอเมริกา นายแฟรงคลิน
ดี รูสเวท์ และนายกรัฐมนตรีแห่งอังกฤษคือ นายวินสตัน เซอร์ชิล
(ดำรงตำแหน่งในขณะนั้น) เดิมสหประชาชาติใช้ชื่อเต็มในภาษาอังกฤษว่า
United Nations Organization หรือ UNO แต่มักถูกเรียกว่า United
Nations หรือ UN คำว่า สหประชาชาติ ได้ประกาศใช้เมื่อวันที่
๑ ตุลาคม กราคม พ.ศ.๒๔๘๕ ในเอกสาร "คำประกาศโดยสหประชาชาติ" ซึ่งมีประเทศมหาอำนาจ
๔ ประเทศ ตุลาคม ในประกาศฉบับนี้ ได้แก่ สหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักร
จีน และ สหภาพโซเวียต
การประชุมเพื่อจัดตั้งสหประชาชาติได้จัดขึ้น
๕ ครั้ง ได้แก่
การประชุมบนเรือออกุสตา
ในมหาสมุทรแอตแลนติก ตุลาคม ื่อวันที่ ๑๔ สิงหาคม พ.ศ. ๒๔๘๔
การประชุมที่กรุงมอสโก
ประเทศสหภาพโซเวียต ตุลาคม ื่อเดือนตุลาคม พ.ศ. ๒๔๘๖
การประชุมที่คฤหาสน์ลัมเบอร์ตันโอคส์กรุงวอชิงตันดี.ชี.
ประเทศสหรัฐอเมริกาเมื่อปี พ.ศ.๒๔๘๗
การประชุมที่แหลมไครเมีย ตุลาคม ืองยัลตา ประเทศสหภาพโซเวียต ตุลาคม ื่อปี พ.ศ. ๒๔๘๘
การประชุมที่เมืองซานฟรานซิสโก
ประเทศสหรัฐอเมริกา ตุลาคม ื่อวันที่ ๒๔ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๘๘ ได้มีการประชุมครั้งสุดท้าย
และมีการตกลงก่อตั้งสหประชาชาติขึ้นอย่างเป็นทางการ โดยมีสำนักงานใหญ่ของสหประชาชาติอยู่ที่กรุงนิวยอร์ก
ประเทศสหรัฐอเมริกาและสมาชิกเริ่มต้นทั้งสิ้น ๕๑ ประเทศ ปัจจุบันสหประชาชชาติมีสมาชิก
๑๙๑ ประเทศ (เมษายน ๒๕๔๘) ส่วนประเทศไทยเข้าเป็นสมาชิกเมื่อวันที่
๑๖ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๘๙ (ลำดับที่ ๕๔)
วัตถุประสงค์ของการตั้งสหประชาชาติ
--------------------------------------------------------------------------------
ธำรงไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ
การส่งเสริมสิทธิมนุษยชน
การเคารพในหลักความยุติธรรมและกฎหมายระหว่างประเทศ
การส่งเสริมความเจริญก้าวหน้าทางเศรษฐกิจและสังคมของประชากรโลก
ตลอดจนส่งเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างประเทศ
องค์กรในสหประชาชาติ
(principal organs)
--------------------------------------------------------------------------------
สหประชาชาติ
ประกอบด้วยองค์กรหลัก ๗ องค์กร คือ
๑. สมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติ
(General Assembly) ประกอบด้วยสมาชิกทุกประเทศของสหประชาชาติ
เป็นองค์กรหลักที่ทำหน้าที่กำหนดแนวทางปฏิบัติงานขององค์การ
พิจารณาและให้คำแนะนำในเรื่องต่างๆ ภายในขอบเขตของกฎบัตรสหประชาชาติ
พิจารณาปัญหาเกี่ยวกับการรักษาสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ
พิจารณารายงานขององค์กรต่างๆ ของสหประชาชาติ ตุลาคม ีหน้าที่เลือกสมาชิกไม่ถาวรของคณะมนตรี ตุลาคม มั่นคงจำนวน ๑๐ ประเทศ คณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคมจำนวน ๕๔
ประเทศและคณะมนตรีอื่นๆ ตลอดจนการรับสมาชิกใหม่ แต่งตั้งเลขาธิการสหประชาชาติเมื่อได้รับข้อเสนอแนะจากคณะมนตรีความมั่นคง ตุลาคม ทั้งพิจารณาและรับรองงบประมาณของสหประชาชาติ กำหนดส่วนเฉลี่ยค่าบำรุงของประเทศสมาชิก
ฯลฯ
๒. คณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ
(Security Council) ประกอบด้วย สมาชิกถาวร (Permanent Members)
จำนวน ๕ ประเทศ (สาธารณรัฐประชาชนจีน ฝรั่งเศส รัสเซีย สหราชอาณาจักร
และสหรัฐอเมริกา) และ สมาชิกไม่ถาวร (Non-permanent Members)
จำนวน ๑๐ ประเทศ ซึ่งมาจากการลงคะแนนเสียงเลือกตั้งและอยู่ในตำแหน่งคราวละ
๒ ตุลาคม ีหน้าที่สอบสวนกรณีพิพาทหรือสถานการณ์ที่อาจนำไปสู่ความขัดแย้งระหว่างประเทศ
และเสนอแนะวิธีดำเนินการหรือแผนปฏิบัติการที่จะจัดทำความตกลงสำหรับการยุติข้อพิพาทโดยสันติ
เสนอแนะการรับสมาชิกใหม่ เสนอแนะสมัชชาฯ ในการแต่งตั้งเลขาธิการสหประชาชาติ
และทำหน้าที่ร่วมกับสมัชชาฯ ในการเลือกตั้งผู้พิพากษาประจำศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ
๓. คณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคมแห่งสหประชาชาติ
(Economic and Social Council : ECOSOC) ประกอบด้วย สมาชิกจำนวน
๕๔ ประเทศ อยู่ในตำแหน่งคราวละ ๓ ปี ทุกปีจะมีการเลือกตั้งแทนประเทศที่พ้นตำแหน่งปีละ
๑๘ ประเทศ สมาชิกที่ครบวาระแล้วมีสิทธิสมัครเข้ารับเลือกตั้งซ้ำและสามารถรับเลือกตั้งซ้ำในวาระต่อเนื่องได้
แบ่งการดำเนินงานออกเป็นคณะกรรมาธิการประจำ คณะกรรมาธิการภูมิภาค
และองค์กรผู้เชี่ยวชาญ ตุลาคม ีหน้าที่ศึกษาและรายงานเรื่องระหว่างประเทศทางด้านเศรษฐกิจ
สังคม ตุลาคม การศึกษา ตุลาคม ัย และอื่นๆ ตุลาคม ทั้งให้คำแนะนำ
เพื่อส่งเสริมการเคารพและปฏิบัติตามสิทธิมนุษยชน และอิสรภาพขั้นมูลฐานของปวงชน
๔. คณะมนตรีภาวะทรัสตีแห่งสหประชาชาติ
(Trusteeship Council) ประกอบด้วยประเทศสมาชิกที่ปกครองดินแดนในภาวะทรัสตี
ประเทศที่เป็นสมาชิกถาวรคณะมนตรีความมั่นคง และประเทศอื่นๆ เท่าที่จำเป็น
เพื่อให้ได้สัดส่วนของประเทศที่ปกครองและมิได้ปกครองภาวะทรัสตีจำนวนเท่าๆ ตุลาคม ีหน้าที่พิจารณารายงานของประเทศที่ทำหน้าที่ปกครองดินแดนและจัดทำข้อเสนอแนะ
เพื่อเร่งรัดการให้ดินแดนในภาวะทรัสตีเจริญก้าวหน้ารวดเร็ว สามารถปกครองตนเองหรือเป็นเอกราชได้
๕. ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ
(International Court of Justice) ประกอบด้วยผู้พิพากษาจำนวน
๑๕ คน อยู่ในตำแหน่งคราวละ ๕ ปี คัดเลือกจากผู้มีคุณสมบัติสูงสุดทางตุลาการในประเทศของตนหรือเป็นผู้เชี่ยวชาญในเรื่องกฎหมายระหว่างประเทศ
ซึ่งคณะมนตรีความมั่นคงและสมัชชาฯ เป็นผู้คัดเลือก ตุลาคม ีหน้าที่พิจารณาข้อขัดแย้งใน
ทางกฎหมายตามที่แต่ละประเทศเสนอต่อศาลฯ และให้คำแนะนำตัวบทกฎหมายเมื่อได้รับการร้องขอจากองค์กรภายในสหประชาชาติ ตุลาคม ทั้งตีความกฎหมายระหว่างประเทศและการเตรียมร่างอนุสัญญาและสนธิสัญญาที่กำหนดแนวทางปฏิบัติระหว่างชาติ
๖. สำนักงานเลขาธิการแห่งสหประชาชาติ
(Secretariat) ตุลาคม ีเลขาธิการสหประชาชาติเป็นหัวหน้าฝ่ายบริหารของสหประชาชาติ
ปฏิบัติการในอำนาจหน้าที่ของเลขาธิการในการประชุมทั้งปวงของสมัชชา
คณะมนตรีความมั่นคง คณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคม และคณะมนตรีภาวะทรัสตี ตุลาคม ทั้งปฏิบัติหน้าที่ที่องค์กรเหล่านี้มอบหมาย พร้อมทั้งจัดทำรายงานประจำปีเกี่ยวกับสหประชาชาติเสนอต่อสมัชชาฯ
๗. คณะมนตรีสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ
(The United Nations Human Rights Council) ตุลาคม ีหน้าที่ติดตาม
ตรวจสอบ ให้คำแนะนำและดำเนินกิจกรรมเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชน แทนหน่วยงานเดิมที่เรียกว่า
คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ (The United Nations
High Commissioner for Human Rights)
องค์กรเหล่านี้มีสำนักงานอยู่ที่นครนิวยอร์ก
ยกเว้นศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ ที่ตั้งอยู่ที่กรุงเฮก ประเทศเนเธอร์แลนด์
นอกจากนี้ ยังมีทบวงการชำนัญพิเศษ (Specialized Agencies) อีกจำนวน
๑๗ องค์กร ซึ่งเป็นองค์กรอิสระและปฏิบัติงานเฉพาะสาขา ผูกพันกับสหประชาชาติตามข้อตกลงพิเศษ
ประกอบด้วยสมาชิกทั้งที่เป็นและไม่เป็นสมาชิกของสหประชาชาติ
โดยมีคณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคมกับสมัชชาฯ เป็นองค์กรประสานงาน
ได้แก่
FAO
องค์การการบินพลเรือนระหว่างประเทศ
(International Civil Aviation Organization - ICAO)
ILO
การประชุมสหประชาชาติว่าด้วยการค้าและการพัฒนา
(United Nations Conference on Trade and Development - UNCTAD)
UNDCP
สำนักงานโครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ
(United Nations Development Program - UNDP)
องค์การสิ่งแวดล้อมโลก
(United Nations Environment Programme - UNEP)
องค์การศึกษา
วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (United Nations Educational,
Scientific and Cultural Organization - UNESCO)
กองทุนประชากรแห่งสหประชาชาติ
(อังกฤษ United Nations Population Fund - UNFPA)
UNHCR
UN-HABITAT
UN Water
กองทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ
(United Nations Children's Fund - UNICEF)
UNRWA
สหภาพสากลไปรษณีย์
(Universal Postal Union - UPU)
WFP
องค์การอนามัยโลก
(World Health Organization - WHO)
ภาษาที่ใช้ในสหประชาชาติทั้งหมดมี
๖ ภาษา ได้แก่ อังกฤษ ฝรั่งเศส รัสเซีย สเปน จีน อาระบิก ภาษาทั้ง
๖ ภาษานี้จัดเป็นภาษาทางการ แต่ภาษาที่ใช้ในการทำงานจริงนั้นใช้เพียง
๒ ภาษา ได้แก่อังกฤษ และฝรั่งเศส โดยที่ตัวแทนของประเทศต่าง
ๆ จะต้องพูดภาษาในการทำงานได้ภาษาหนึ่ง จากนั้นคำพูดหรือเอกสารจะถูกแปลออกมาเป็นภาษาทางการทั้ง
๖ ภาษา
ฐานข้อมูลวิจัยสหประชาชาติ
--------------------------------------------------------------------------------
ฐานข้อมูลวิจัยสหประชาชาติ
เป็นเอกสารประเภทรายงานการวิจัย หรือรายงานโครงการต่าง ๆ ของสหประชาชาติ
เป็นผลงานวิจัยในระดับโลกหรือรายงานโครงการที่ดำเนินงานในประเทศต่าง
ๆ ของสหประชาชาติ สามารถเข้าถึงได้ ๖ ภาษา
ประเทศไทยกับสหประชาชาติ
ประเทศไทยได้เข้าเป็นสมาชิกสหประชาชาติลำดับที่
๕๕ ตุลาคม ื่อวันที่ ๑๖ ตุลาคม ๒๔๘๙ หลังจากที่สหประชาชาติได้ก่อตั้งเพียง
๑ ปี โดยนายดิเรก ชัยนาม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศในขณะนั้น
ได้ชี้แจงเหตุผลไว้ดังนี้
เพื่อความมั่นคงของไทย
เนื่องจากสหประชาชาติเป็นองค์การมีกำลังมากที่สุดที่สามารถธำรงสันติภาพ
และความมั่นคง และให้ความยุติธรรมสำหรับประเทศเล็ก ๆ อย่างไทย
เพื่อแสดงให้โลกเห็นว่า
ประเทศไทยเป็นประเทศเก่าแก่ชาติหนึ่ง เนื่องจากการที่เข้าเป็นสมาชิกขององค์การโลกเป็นการยืนยันรับรองฐานะของไทยอีกครั้งหนึ่ง
ไทยหวังความช่วยเหลือจากสหประชาชาติในด้านเศรษฐกิจ
สังคมและวัฒนธรรม
เพื่อแสดงให้โลกเห็นว่า
ไทยประสงค์จะร่วมมือในการสร้างสันติภาพและความมั่นคงของโลกอย่างจริงจัง
บทบาทด้านการส่งเสริมสันติภาพและรักษาความมั่นคงระหว่างประเทศ
--------------------------------------------------------------------------------
ในช่วงทศวรรษที่
๑๙๘๐ ซึ่งเกิดกรณีปัญหากัมพูชา ประเทศไทยได้มีบทบาทนำอย่างแข็งขันร่วมกับอาเซียนในการแก้ไขปัญหาในประเทศเพื่อนบ้านโดยดำเนินการผ่านเวทีสหประชาชาติ ตุลาคม าหลังจากสหประชาชาติได้ปรับบทบาทให้สอดคล้องกับบรรยากาศทางการเมืองระหว่างประเทศ
หลังจากการยุติของสงครามเย็น ประเทศไทยได้เพิ่มบทบาทในด้านการเข้าร่วมปฏิบัติการรักษาสันติภาพของสหประชาชาติที่ตั้งอยู่ในภูมิภาคต่าง
ๆ ทั่วโลก เนื่องจากพิจารณาเห็นว่าสหประชาชาติเป็นเสมือนตัวแทนประชาคมโลก
ดังนั้นการให้สหประชาชาติดูแลรักษาสันติภาพและความมั่นคงจึงเป็นประโยชน์แก่ประเทศที่มีกำลังทางทหารขนาดเล็กอย่างไทยมากกว่าที่จะให้ประเทศใดประเทศหนึ่งใช้กำลังฝ่ายเดียวเพื่อยุติข้อขัดแย้ง
นอกจากนี้
ในฐานะประเทศสมาชิกที่ดีของสหประชาชาติไทยได้พยายามให้การสนับสนุนบทบาทของสหประชาชาติเท่าที่สถานภาพและกำลังทรัพย์จะเอื้ออำนวยประเทศไทยได้มีบทบาทในด้านนี้มาอย่างต่อเนื่องนับตั้งแต่ยุคหลังสงครามเย็น
ดังนี้
ส่งทหารเข้าร่วมในกองกำลังรักษาสันติภาพฯ
บริเวณชายแดนอิรัก-คูเวต (United Nations Iraq-Kuwait Observer
Mission: UNIKOM) ปีละ ๕ นาย ตั้งแต่ปี ๒๕๓๔-ปัจจุบัน
ส่งทหารเข้าร่วมกองกำลังรักษาความปลอดภัยในอิรัก
(United Nations Guards Contingent in Iraq :UNGCI) ในปี ๒๕๓๕
จำนวน ๒ ผลัด ๆ ละ ๕๐ นาย
ส่งทหารหนึ่งกองพันเข้าร่วมองค์กรบริหารชั่วคราวแห่งสหประชาชาติในกัมพูชา
(United Nations Transitional Authority in Cambodia: UNTAC)
ปี ๒๕๓๔-๒๕๓๕
ส่งเจ้าหน้าที่ตำรวจเข้าร่วมในปฏิบัติการรักษาสันติภาพในบอสเนีย-เฮอร์เซโกวินา
(United Nations Mission in Bosnia-Herzegovina: UNMIBH) ปีละ
๕ นาย ตั้งแต่ปี ๒๕๔๐ ปัจจุบัน
ส่งทหารเข้าร่วมปฏิบัติการของสหประชาชาติในติมอร์ตะวันออก
ปี ๒๕๔๒- ปัจจุบัน
ส่งนายทหารสังเกตการณ์
๕ นายเข้าร่วมในปฏิบัติการรักษาสันติภาพในเซียร์ราลีโอน(United
Nations Mission in Siera Leon: UNAMSIL) ตั้งแต่ต้นปี ๒๕๔๓
ไทยกับติมอร์ตะวันออก
--------------------------------------------------------------------------------
เมื่อเดือนพฤษภาคม
พ.ศ. ๒๕๔๒ ไทยเข้าร่วม UN Mission in East Timor (UNAMET) ซึ่งเข้าไปทำหน้าที่ดูแลการลงประชามติเพื่อกำหนดใจตนเองในติมอร์ตะวันออก ตุลาคม าเมื่อเกิดเหตุการณ์รุนแรง ไทยเข้าร่วมกองกำลังนานาชาติ
(International Force in East Timor : INTERFET) จัดตั้งโดยคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ
กองกำลังดังกล่าวนำโดยออสเตรเลีย โดยพลตรีทรงกิตติ จักกาบาตร์
ดำรงตำแหน่งรองผู้บังคับบัญชากองกำลัง INTERFET ตุลาคม าเมื่อคณะมนตรีความมั่นคงฯ ตุลาคม ีข้อมติที่ ๑๒๗๒(๑๙๙๙) จัดตั้ง UN Transitional Administration
in East Timor (UNTAET) ไทยได้ส่งกองกำลังไทย ๙๗๒ / ติมอร์ตะวันออก
เข้าร่วม และได้รับมอบหมายให้ดูแล Sector East และเมืองเบาเกา
โดยมีสายงานบังคับบัญชากองกำลังเกาหลีใต้ และฟิลิปปินส์ ด้วย
นอกจากนั้น
ไทยยังได้ส่งเจ้าหน้าที่ตำรวจพลเรือนไปปฏิบัติหน้าที่ใน UNTAET
ประมาณ ๕๐ คน และ พลโท บุญสร้าง เนียมประดิษฐ์ ได้รับแต่งตั้งจากสหประชาชาติให้ดำรงตำแหน่งผู้บัญชาการกองกำลัง
UNTAET ระหว่างวันที่ ๒๐ กรกฎาคม ๒๕๔๓ วันที่ ๓๑ สิงหาคม ๒๕๔๔ ตุลาคม า พลโท วินัย ภัททิยกุล ได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งแทน
ตั้งแต่วันที่ ๑ กันยายน ๒๕๔๔ ขณะนี้ ตุลาคม ีทหารไทยปฏิบัติหน้าที่ในติมอร์ตะวันออกประมาณ
๗๐๐ คน นอกเหนือไปจากภารกิจที่ได้รับมอบหมายจากสหประชาชาติแล้ว
ทหารไทยยังได้ให้ความช่วยเหลือในด้านการพัฒนาโดยให้คำแนะนำทางการเกษตรแก่ชาวติมอร์ตะวันออกในพื้นที่รับผิดชอบ
โดยได้รับความร่วมมือจาก โครงการไทยบรรเทาทุกข์ : น้ำใจสู่ติมอร์ฯ
ที่ให้การสนับสนุนเมล็ดพันธุ์พืชและอื่น ๆ นอกจากนั้น ไทยยังได้ส่ง
fact-finding mission ไปติมอร์ตะวันออกเป็นประเทศแรกของอาเซียน
เพื่อสำรวจความต้องการความช่วยเหลือของติมอร์ตะวันออก ในชั้นนี้
ไทยมีโครงการให้ความช่วยเหลือติมอร์ตะวันออก ได้แก่ โครงการฝึกอบรมการจัดตั้งหมู่บ้านป้องกันตนเอง
การฝึกอบรมด้านเกษตรและสาธารณสุข ตุลาคม ถึงการแสวงหาความร่วมมือกับประเทศอื่นในรูปแบบไตรภาคีเพื่อขยายโครงการความช่วยเหลือใหม่
ๆ โดยเน้นโครงการสร้างสมรรถนะ (capacity-building) ของติมอร์ตะวันออก
บทบาทของไทยในฐานะเป็นที่ตั้งของหน่วยงานต่าง
ๆ ของสหประชาชาติ
--------------------------------------------------------------------------------
ประเทศไทยถือได้ว่าเป็นศูนย์กลางของหน่วยงานสหประชาชาติและองค์การระหว่างประเทศต่าง
ๆ ในภูมิภาคนี้ โดยเฉพาะกรุงเทพมหานครได้เป็นที่ตั้งขององค์การในระดับภูมิภาคและสำนักงานที่สำคัญ
ๆ ของสหประชาชาติหลายองค์การ ซึ่งเป็นองค์การหลักในด้านการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
เช่น คณะกรรมาธิการเศรษฐกิจและสังคมสำหรับเอเชียและแปซิฟิก (ESCAP)
สำนักงานส่วนภูมิภาคของโครงการสิ่งแวดล้อมแห่งสหประชาชาติ สำนักงานข้าหลวงใหญ่ผู้ลี้ภัยแห่งสหประชาชาติ
และองค์การอนามัยโลก เป็นต้น การที่ประเทศไทยได้เป็นที่ตั้งของหน่วยงานสหประชาชาติหลายหน่วยงานเช่นนี้
ได้เปิดโอกาสให้ความร่วมมือระหว่างไทยกับสหประชาชาติในด้านต่าง
ๆ ดำเนินไปอย่างใกล้ชิด ซึ่งได้ให้ประโยชน์โดยตรงต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของไทย
โดยเฉพาะต่อประชาชนในภูมิภาคซึ่งยังมีฐานะยากจนและขาดแคลนในด้านสาธารณูปโภค
และระบบสุขอนามัยที่ดี
บทบาทของไทยในการปฏิบัติหน้าที่ในตำแหน่งต่างๆ
ของสหประชาชาติ
--------------------------------------------------------------------------------
นับตั้งแต่ไทยได้เข้าเป็นสมาชิกสหประชาชาติ
ผู้แทนของประเทศไทยได้รับการเลือกตั้งให้ดำรงตำแหน่งสำคัญ ๆ
ในสหประชาชาติอย่างสม่ำเสมอ อาทิ
ประธานสมัชชาสหประชาชาติ
สมัยที่ ๑๑ ปี ๒๔๙๙ โดยพลตรี พระเจ้าวรวงศ์เธอกรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์ทรงได้รับการเลือกจากประเทศสมาชิกสมัชชาฯ
สมาชิกไม่ถาวรของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ
ประจำปี ๒๕๒๙-๒๕๓๐
สมาชิกคณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคม
ช่วงปี ๒๕๑๗-๒๕๑๙, ๒๕๒๓-๒๕๒๕, ๒๕๒๖-๒๕๒๘, ๒๕๓๒-๒๕๓๔, ๒๕๓๘-๒๕๔๐
รองประธานสมัชชาสหประชาชาติ
สมัยที่ ๓๕ ปี ๒๕๒๓, สมัยที่ ๔๓ ปี ๒๕๓๑, สมัยที่ ๕๐ ปี ๒๕๓๘
และ สมัยที่ ๕๔ ปี ๒๕๔๒
ประธานคณะกรรมการพิเศษว่าด้วยการเมืองและปลดปล่อยอาณานิคม
ปี ๒๕๓๔
ประธานคณะทำงานของกลุ่มประเทศไม่ฝักใฝ่ฝ่ายใดว่าด้วยปฏิบัติการรักษาสันติภาพ
ปี ๒๕๓๖-๒๕๔๑
รองประธานคณะทำงานเฉพาะกิจว่าด้วยการปรับปรุงและขยายคณะมนตรีความมั่นคงฯ
ปี ๒๕๓๗-๒๕๔๑
ประธานคณะกรรมการบริหารของโครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติและกองทุนประชากรแห่งสหประชาชาติ
ปี ๒๕๔๑-๒๕๔๒
ประธานร่วมคณะเจ้าหน้าที่ของคณะกรรมการเตรียมการสำหรับการประชุมระหว่างประเทศว่าด้วยการให้ความสนับสนุนด้านการเงินสำหรับการพัฒนา
ปี ๒๕๔๓
นอกจากนี้
ประเทศไทยยังได้รับการเลือกตั้งจากสมาชิกสหประชาชาติให้ปฏิบัติหน้าที่ในคณะกรรมาธิการ
หรือ คณะกรรมการต่าง ๆ ในกรอบสหประชาชาติอีกมากมาย โดยในปี ๒๕๔๓
ไทยดำรงตำแหน่งเป็นสมาชิกของคณะกรรมาธิการ ๘ คณะ ได้แก่ การพัฒนาสังคม
กฎหมายการค้าระหว่างประเทศ ตุลาคม าตรฐานระหว่างประเทศว่าด้วยการบัญชีและรายงาน
การป้องกันอาชญากรรมและความยุติธรรมทางอาญา ยาเสพติด การพัฒนาที่ยั่งยืน
โครงการสิ่งแวดล้อมแห่งสหประชาชาติ และโครงการประสานงานความช่วยเหลือแห่งสหประชาชาติ
และในปี ๒๕๔๔ ไทยจะเข้าเป็นสมาชิกคณะกรรมาธิการสิทธิมนุษยชนเป็นครั้งแรก
โดยมีวาระถึงปี ๒๕๔๖ เป็นเวลา ๓ ปี
รายชื่อคนไทยที่ได้รับยกย่องจากสหประชาชาติ
--------------------------------------------------------------------------------
นับตั้งแต่ไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ
คนไทยได้รับการยกย่องจากหน่วยงานด้านต่าง ๆ จากสหประชาชาติมากมาย
ซึ่งนอกจากจะเสริมสร้างเกียรติคุณแก่บุคคลนั้น ๆ แล้วยังเป็นการยกฐานะของประเทศไทยให้เป็นที่รู้จักกันทั่วโลกด้วย
องค์การศึกษา วิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก)
จัดการเฉลิมฉลองบุคคลสำคัญและเหตุการณ์สำคัญทางประวัติศาสตร์เพื่อเชิดชูเกียรติคุณของบุคคลหรือเหตุการณ์ที่มีต่อการศึกษาวิทยาศาสตร์ ตุลาคม สังคมศาสตร์ หรือสื่อสาร ซึ่งองค์การได้ประกาศยกย่องพระนามและชื่อบุคคลสำคัญของประเทศไทย
ดังนี้
ฉลองวันประสูติครบ
๑๐๐ ปี ของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยาดำรงราชานุภาพ ตุลาคม ื่อวันที่ ๒๑ ตุลาคม ิถุนายน ๒๕๐๕
ฉลองวันประสูติครบ
๑๐๐ ปี ของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัตติวงศ์ ตุลาคม ื่อวันที่ ๒๘ ตุลาคม ษายน ๒๕๐๖
ฉลองวันพระราชสมภพครบ
๒๐๐ พรรษา ของพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยเมื่อวันที่
๒๔ ตุลาคม ภาพันธ์ ๒๕๑๑
ฉลองวันพระราชสมภพครบ
๑๐๐ พรรษา ของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวเมื่อวันที่
๑ ตุลาคม กราคม ๒๕๒๔
ฉลองวันเกิดครบรอบ
๒๐๐ ปี ของกวีเอกสุนทรภู่ ตุลาคม ื่อวันที่ ๒๖ ตุลาคม ิถุนายน ๒๕๒๙
ฉลองวันเกิดครบรอบ
๑๐๐ ปี ของพระยาอนุมานราชธน (ยง เสฐียรโกเศศ) ตุลาคม ื่อวันที่๑๔ ตุลาคม ๒๕๓๑
ฉลองวันประสูติครบ
๒๐๐ ปี ของสมเด็จพระมหาสมณเจ้า ตุลาคม พระปรมานุชิตชิโนรสเมื่อวันที่
๑๑ ตุลาคม ๒๕๓๓
ฉลองวันประสูติครบ
๑๐๐ ปี ของพลตรี พระเจ้าวรวงศ์เธอ ตุลาคม หมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์ ตุลาคม ื่อวันที่ ๒๕ สิงหาคม ๒๕๓๔
ฉลองวันพระราชสมภพครบ
๑๐๐ ปี ของสมเด็จพระมหิตลาธิเบศรอดุลยเดชวิกรมพระบรมราชชนก ตุลาคม ื่อวันที่
๑ ตุลาคม กราคม ๒๕๓๕
ฉลองสิริราชสมบัติครบ
๕๐ ปี ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชฯเมื่อวันที่
๙ ตุลาคม ิถุนายน ๒๕๓๙
ฉลองวันพระราชสมภพครบ
๑๐๐ ปี ของสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีเมื่อวันที่ ๒๑ ตุลาคม
๒๕๔๓
ฉลองวันชาตะกาล
๑๐๐ ปี ของศาสตราจารย์ ดร. ปรีดี ตุลาคม ยงค์ ตุลาคม ื่อวันที่ ๑๑ พฤษภาคม
๒๕๔๓
คนไทยที่ได้รับรางวัลและได้รับการแต่งตั้งจากสหประชาชาติ
--------------------------------------------------------------------------------
คนไทยที่ได้รับรางวัลและได้รับการแต่งตั้งจากสหประชาชาติให้ดำรงตำแหน่งสำคัญต่าง
ๆ ในสาขาด้านการพัฒนา ได้แก่
นายอานันท์
ปันยารชุน อดีตนายกรัฐมนตรีได้รับแต่งตั้งให้เป็นทูตองค์การยูนิเซฟประจำประเทศไทย
ตั้งแต่ปี ๒๕๓๙ จนถึงปัจจุบัน
นายมีชัย
วีระไวทยะ อดีตผู้อำนวยการสมาคมพัฒนาชุมชนและประชากรแห่งประเทศไทย
ได้รับรางวัลประชากรแห่งสหประชาชาติ (United Nations Population
Award) ประจำปี ๒๕๔๐ ค.ศ.๑๙๙๗) เนื่องจากบทบาทในการแก้ปัญหาเกี่ยวกับประชากร
และส่งเสริมการคุมกำเนิดในประเทศไทยและเอเชียมากว่า ๒๐ ปี และได้มีบทบาทสูงในการรณรงค์เรื่องการป้องกันโรคภูมิคุ้มกันบกพร่อง
(AIDS) รางวัลนี้จัดตั้งโดยมติสมัชชาสหประชาชาติ ตุลาคม อบให้แก่บุคคลหรือสถาบันที่มีผลงานดีเด่นในการสร้างเสริมสำนึกในปัญหาประชากรและหาแนวทางในการแก้ไขโดยมอบเป็นประจำทุกปี
ตั้งแต่ ปี ๒๕๒๖ เป็นต้นมา นอกจากนี้ ในปี ๒๕๔๓ นายมีชัยฯ ยังได้รับแต่งตั้งให้เป็นทูตสันถวไมตรีของ
โครงการโรคเอดส์แห่งสหประชาชาติ (UNAIDS) อีกด้วย
นางมุกดา
อินทรสาร ครูจากจังหวัดพะเยา ได้รับรางวัลการต่อสู้กับความยากจน
(The Race against Poverty Award) ประจำปี ๒๕๔๒ จากโครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ
(UNDP)
น.ส.ภรณ์ทิพย์
นาคหิรัญกนก อดีตนางสาวไทยและนางงามจักรวาลประจำปี ๒๕๓๑
(ค.ศ.๑๙๘๘) ได้รับเลือกให้เข้าร่วมในโครงการรณรงค์ระหว่างประเทศ
Face to Face ของ UNFPA ในปี ๒๕๔๓
น.ส.
แคทลียา แมคอินทอช นักแสดง ได้รับแต่งตั้งเป็นผู้แทนพิเศษด้านเยาวชนขององค์การยูนิเซฟประจำประเทศไทย
ในปี ๒๕๔๓
นางอมีนะ
บีเดลและ ประธานสมาคมอาสาสมัครต่อต้านยาเสพติดจากประเทศไทยได้รับมอบรางวัล
United Nations Vienna Civil Society Award ประจำปี ๒๕๔๓ จากสำนักงานควบคุมยาเสพติดและการป้องกันอาชญากรรมแห่งสหประชาชาติ
(UN/ODCCP)
บทบาทและความร่วมมือระหว่างไทยและสหประชาชาติในด้านสังคม
--------------------------------------------------------------------------------
ในอดีตที่ผ่านมา
ปัญหาสังคมที่เกิดขึ้นภายในประเทศมักเป็นผลหรือได้รับอิทธิพลจากเหตุการณ์นอกประเทศ
ปัจจุบันซึ่งเป็นยุคโลกาภิวัฒน์ ปัญหาสังคมมีความสลับซับซ้อนมากขึ้น
เนื่องจากความเกี่ยวโยงทั้งจากปัจจัยภายในประเทศและภายนอกประเทศจนไม่อาจแก้ไขได้จากด้านใดเพียงด้านเดียว
หรือโดยประเทศใดประเทศเดียวเพียงลำพัง และบ่อยครั้งที่ปัญหาภายในประเทศได้ส่งผลกระทบต่อความอยู่ดีกินดี ตุลาคม ปลอดภัย ตุลาคม มั่นคงของประชาชนและประเทศในระดับภูมิภาคและของโลก
ทำให้ไทยจำเป็นต้องกระตือรือร้นที่จะให้ความร่วมมือแก่ประชาคมระหว่างประเทศเพื่อแก้ไขปัญหาสังคมภายในประเทศ
และป้องกันมิให้ปัญหาภายในประเทศลุกลามจนกลายเป็นปัญหาของภูมิภาคหรือของโลก
จากการสู้รบในประเทศเพื่อนบ้าน
ประเทศไทยได้ปฏิบัติหน้าที่ในฐานะสมาชิกของประชาคมระหว่างประเทศที่จะต้องให้ความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมแก่ผู้อพยพที่เข้ามาพักพิงในประเทศนานนับทศวรรษ
ในช่วงวิกฤตการณ์อินโดจีน ไทยได้ให้ที่พักพิงแก่ผู้อพยพชาวกัมพูชา
ลาว และเวียดนามตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๑๘ จนสิ้นสุดการสู้รบจำนวนล้านกว่าคน
แม้ไทยจะได้รับผลกระทบด้านอื่น ๆ เช่น ปัญหาความมั่นคงทางชายแดนก็ตาม
นอกจากนี้ไทยได้รณรงค์ให้ประชาคมระหว่างประเทศสนใจปัญหาผู้อพยพเป็นเรื่องที่ประเทศต่าง
ๆ ตุลาคม ทั้งองค์การระหว่างประเทศจะต้องร่วมกันแบกรับภาระและแก้ไขปัญหา
เพื่อให้ประชาชนของสังคมโลกสามารถอยู่ร่วมกันได้อย่างมีสันติสุข
แม้ปัญหาผู้อพยพอินโดจีนถือได้ว่ายุติลงแล้ว แต่ไทยยังคงแบกรับภาระผู้หนีภัยการ
สู้รบจากพม่าอีกกว่า ๑๐๐,๐๐๐ คนที่ยังพักพิงอยู่ในประเทศและรอการแก้ปัญหา
นอกจากการให้ความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมแล้ว
ประเทศไทยได้พัฒนามาตรฐานด้านสิทธิมนุษยชนภายในประเทศให้สอดคล้องกับมาตรฐานสากลซึ่งเป็นที่ยอมรับ
เพื่อประโยชน์ในการคุ้มครองและส่งเสริมสิทธิและเสรีภาพขั้นพื้นฐานของประชาชนภายในประเทศ
เช่น การเข้าเป็นภาคีอนุสัญญาระหว่างประเทศด้านสิทธิมนุษยชน
เพื่อรับพันธกรณีที่จะคุ้มครองสิทธิของประชาชนด้านต่าง ๆ เช่น
สิทธิพลเมือง สิทธิทางการเมือง สิทธิทางเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม ตุลาคม ทั้งการให้ความคุ้มครองแก่กลุ่มที่เสี่ยงต่อการละเมิด เช่น
เด็กและสตรี การสนับสนุนให้กลไกต่าง ๆ ภายในประเทศที่จัดตั้งขึ้นใหม่ตามรัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบัน
เพื่อส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนให้มีความเข้มแข็งขึ้นโดยการเรียนรู้ประสบการณ์
ปัญหา และความเชี่ยวชาญจากประเทศต่าง ๆ ที่ได้มีกลไกลักษณะเดียวกันมาก่อนประเทศไทย
นอกจากนี้ ไทยยังจะเริ่มปฏิบัติหน้าที่ในคณะกรรมาธิการสิทธิมนุษยชน
(CHR) ครั้งแรกในปี พ.ศ. ๒๕๔๔ เป็นระยะเวลา ตุลาคม ีส่วนร่วมในการพัฒนามาตรฐานการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนในระดับระหว่างประเทศ
ในด้านการพัฒนาสังคม
--------------------------------------------------------------------------------
นอกจากการร่วมมือระหว่างประเทศเพื่อส่งเสริมศักยภาพของบุคคลบางกลุ่มในสังคม
เช่น ผู้พิการ และคนชรา แล้ว ปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในยุคโลกาภิวัฒน์
เช่น ภาวะความยากจน การค้ามนุษย์ ยาเสพติด การฟอกเงิน การระบาดของเชื้อเอชไอวี/เอดส์
และโรคอื่น ๆ ได้กลายเป็นปัญหาที่ไร้พรมแดน และหลายกรณีเกี่ยวพันกันจนไม่อาจแยกจากกันได้
การแก้ไขปัญหาเฉพาะปัญหาภายในประเทศจึงไม่ประสบความสำเร็จ และไม่สามารถกระทำได้โดยประเทศใดตามลำพัง
หากจำเป็นต้องร่วมมือกันในระดับระหว่างประเทศ และในทุกภาคของสังคม
ไม่ว่าจะเป็นภาครัฐ ภาคเอกชน หรือองค์การเอกชน ตุลาคม ทั้งการมีส่วนร่วมของประชาชน
ไทยได้ให้ความร่วมมือแก่สหประชาชาติในด้านการพัฒนาสังคม
โดยเฉพาะปัญหาในระดับภูมิภาคมาโดยตลอด ในขณะเดียวกัน ไทยก็ได้รับความช่วยเหลือด้านความรู้
ประสบการณ์ และเงินทุนสำหรับแผนงานและโครงการต่าง ๆ ภายในประเทศโดยผ่านองค์กรต่าง
ๆ เช่น คณะกรรมาธิการเศรษฐกิจและสังคมสำหรับเอเชียและแปซิฟิก
(ESCAP) โครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ (UNDP) โครงการควบคุมยาเสพติดระหว่างประเทศแห่งสหประชาชาติ
(UNDCP) ด้วยเช่นกัน
ไทยกับประเด็นเรื่องสิ่งแวดล้อม
--------------------------------------------------------------------------------
องค์การสหประชาชาติได้ให้ความสำคัญและความสนใจในเรื่องสิ่งแวดล้อมอย่างจริงจังตั้งแต่ทศวรรษ
ค.ศ. ๑๙๗๐ เป็นต้นมา โดยเริ่มจัดให้มีการประชุมระหว่างประเทศที่กรุงสตอกโฮล์ม
ประเทศสวีเดน ในเรื่องสิ่งแวดล้อมของมนุษย์ (Human Environment)
ในปี ค.ศ. ๑๙๗๒ ทำให้เรื่องสิ่งแวดล้อมได้รับความสนใจอย่างกว้างขวางในประชาคมระหว่างประเทศ
และนำไปสู่การจัดตั้งหน่วยงานที่รับผิดชอบทางด้านสิ่งแวดล้อมของประเทศต่าง
ๆ ในเวลาต่อมา
ประเทศไทยตระหนักเป็นอย่างดีถึงภัยคุกคามที่เกิดจากปัญหาทางด้านสิ่งแวดล้อม
และ รัฐบาลชุดปัจจุบันได้กำหนดเป็นนโยบายสำคัญของประเทศ ตุลาคม ทั้งได้ดำเนินการในด้านต่าง
ๆ เพื่อแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น ในขณะเดียวกันปัญหาความเสื่อมโทรมของสิ่งแวดล้อมยังมีผลกระทบข้ามพรมแดนและเป็นภัยคุกคามต่อสังคมโลกโดยรวมด้วย
ดังนั้น รัฐบาลไทยจึงได้ร่วมมือกับประชาคมระหว่างประเทศ ทั้งในระดับอนุภูมิภาค
ภูมิภาคและระดับโลก โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในกรอบขององค์การสหประชาชาติและแสวงหาแนวทางร่วมกันในการคุ้มครองสิ่งแวดล้อมของโลก
ซึ่งเป็นมรดกร่วมกันของมวลมนุษยชาติให้มีความปลอดภัยเพื่อคนทั้งในรุ่นปัจจุบันและอนาคต
ไทยกับสหประชาชาติในสหัสวรรษใหม่
--------------------------------------------------------------------------------
ในการประชุมสมัชชาสหประชาชาติสมัยที่
๕๓ ที่นครนิวยอร์กเมื่อเดือนธันวาคม ๒๕๔๑ ที่ประชุมได้รับรองข้อมติที่
๕๓/๒๐๒ เรื่อง The Millennium Assembly of the United Nations
ซึ่งนายโคฟี อันนัน เลขาธิการสหประชาชาติเป็นผู้เสนอ โดยมีสาระสำคัญคือให้เรียกการประชุมสมัชชาสหประชาชาติสมัยที่
๕๕ ในปี ๒๕๔๓ (ค.ศ. ๒๐๐๐) ว่า The Millennium Assembly of the
United Nations และให้จัดการประชุมสุดยอดระดับประมุขของรัฐ/หัวหน้ารัฐบาลระหว่างวันที่
๖ - ๘ กันยายน ๒๕๔๓ ณ นครนิวยอร์กเป็นกิจกรรมหนึ่งของการประชุมสมัชชาฯ
สมัยดังกล่าวเรียกว่า Millennium Summit ทั้งนี้ เพื่อให้ผู้นำประเทศต่าง
ๆ ได้มีโอกาสเสนอแนะข้อคิดเห็นอันเป็นประโยชน์ต่อการกำหนดทิศทางการดำเนินงานของสหประชาชาติในศตวรรษที่
๒๑ โดยเฉพาะในส่วนที่เกี่ยวกับการปรับปรุงสหประชาชาติให้สามารถตอบสนองกับความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในปัจจุบันได้อย่างมีประสิทธิภาพ
สืบเนื่องจากข้อมติดังกล่าว
สหประชาชาติได้จัดการประชุม Regional Hearings ขึ้นตามภูมิภาคต่าง
ๆ ๕ ภูมิภาค ได้แก่ ภูมิภาคเอเชียตะวันตก (จัดที่กรุงเบรุต เลบานอน)
ภูมิภาคแอฟริกา (กรุงแอดดิส อาบาบา เอธิโอเปีย) ภูมิภาคยุโรป
(นครเจนีวา สวิตเซอร์แลนด์) ภูมิภาคลาตินอเมริกาและแคริบเบียน
(กรุงซานติอาโก ชิลี) และภูมิภาคเอเชีย (กรุงโตเกียว ญี่ปุ่น)
เพื่อรับฟังความคิดเห็นของทุก ๆ ฝ่ายเกี่ยวกับการดำเนินงานของสหประชาชาติในศตวรรษที่
๒๑ ซึ่งในส่วนของภูมิภาคเอเชีย คณะกรรมาธิการเศรษฐกิจและสังคมสำหรับเอเชียและแปซิฟิก
(ESCAP) ได้จัดการประชุม Regional Hearings ขึ้นที่กรุงโตเกียว
ระหว่างวันที่ ๙ - ๑๐ กันยายน ๒๕๔๒ โดยมีเจ้าหน้าที่ระดับสูงของกระทรวงการต่างประเทศและองค์กร
เอกชนไทยเข้าร่วม
ต่อมา ตุลาคม ื่อวันที่ ตุลาคม ษายน ๒๕๔๓ เลขาธิการสหประชาชาติได้เสนอรายงาน
Millennium Report เรื่อง We the Peoples: The Role of the United
Nations in the ๒๑st Century โดยมีเนื้อหากล่าวถึงพัฒนาการต่าง
ๆ ของโลกที่ส่งผลกระทบต่อการดำเนินงานของสหประชาชาติในระยะ ๕๕
ปีที่ผ่านมาและได้ระบุถึงสิ่งท้าทายต่าง ๆ (challenges) ที่สหประชาชาติจะต้องเผชิญในศตวรรษที่
๒๑ ตลอดจนแนวทางในการแก้ปัญหาเพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ที่กำหนด
ในส่วนของประเทศไทย
กระทรวงการต่างประเทศเห็นว่า ปัจจุบันงานของสหประชาชาติได้เข้ามามีส่วนเกี่ยวข้องกับชีวิตประจำวันของประชาชนในทุก
ๆ ด้านทั้งด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม และเห็นว่า
การประชุม Millennium Summit นี้เป็นโอกาสที่ประเทศไทยสามารถให้ข้อคิดเห็นเพื่อปรับปรุงการดำเนินงานสหประชาชาติให้ตอบสนองความต้องการของประเทศกำลังพัฒนามากยิ่งขึ้น
ฯพณฯ นายสุรินทร์ พิศสุวรรณ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ
ได้รับมอบหมายจากนายกรัฐมนตรีให้เป็นหัวหน้าคณะผู้แทนไทยเข้าร่วมการประชุม
การประชุมครั้งนี้ ตุลาคม ีคณะผู้แทนเข้าร่วมการประชุมทั้งสิ้นจาก ๑๘๙ ประเทศ ประกอบด้วยหัวหน้าคณะผู้แทนระดับประมุขของรัฐ
๙๙ คน หัวหน้ารัฐบาล ๔๘ คน และระดับสูงอื่น ๆ การประชุมแบ่งออกเป็นสองส่วนคือ
การกล่าวถ้อยแถลงของหัวหน้าคณะผู้แทนและการสัมมนาโต๊ะกลม
ผู้แทนประเทศต่าง
ๆ ส่วนใหญ่ได้กล่าวถ้อยแถลงถึงการเปลี่ยนแปลงของโลกยุคโลกาภิวัฒน์ที่ดำเนินไปอย่างรวดเร็วและส่งทั้งผลดีและผลเสียแก่ประเทศต่าง
ๆ ตลอดจนกล่าวถึงสิ่งท้าทาย (challenges) ที่เกิดขึ้นพร้อมกับการเปลี่ยนแปลงนั้น
บทบาทของสหประชาชาติในการรักษาสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ
ซึ่งครอบคลุมไปถึงประเด็นที่เป็นสาเหตุของความขัดแย้ง เช่น ตุลาคม ยากจน
การละเมิดสิทธิมนุษยชน ตุลาคม เสื่อมโทรมของสิ่งแวดล้อม ตุลาคม ด้อยพัฒนา
การแพร่กระจายของโรคติดต่อร้ายแรง (รวมถึง HIV/AIDS) การฉ้อราษฎร์บังหลวง
ฯลฯ ตุลาคม จำเป็นในการปฏิรูปสหประชาชาติโดยเฉพาะคณะมนตรีความมั่นคงฯ
ให้เป็นประชาธิปไตย และตอบสนองต่อความต้องการของประเทศสมาชิกส่วนใหญ่ให้มากขึ้น
การเสริมสร้างความแข็งแกร่งของการปฏิบัติการรักษาสันติภาพของสหประชาชาติ
การเรียกร้องให้สหประชาชาติมีบทบาทในการควบคุมดูแลความเคลื่อนไหวทางเศรษฐกิจและการเงินระหว่างประเทศให้มากขึ้น ตุลาคม แตกต่างที่เกิดขึ้นจากระดับการพัฒนาด้านเทคโนโลยีข่าวสารข้อมูล
นายสุรินทร์
พิศสุวรรณ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศในฐานะหัวหน้าคณะผู้แทนไทยได้กล่าวถ้อยแถลงสนับสนุนรายงานของเลขาธิการสหประชาชาติ
โดยเฉพาะแนวทางการพัฒนาที่เน้นประชาชนเป็นจุดศูนย์กลาง ปัญหาราคาน้ำมันโลกที่เพิ่มสูงขึ้นซึ่งอาจก่อให้เกิดวิกฤตเศรษฐกิจโลก
การดำเนินการของไทยที่ช่วยส่งเสริมสันติภาพและความมั่งคั่งระหว่างประเทศซึ่งประกอบด้วยการเสนอชื่อ
ดร. ศุภชัย พานิชภักดิ์ ในตำแหน่งผู้อำนวยการใหญ่องค์การการค้าโลก
(WTO) การจัดการประชุมอังค์ถัด (UNCTAD X) การสนับสนุนการจัดการประชุม
Financing for Development ในระดับสูงสุด และการที่พลโทบุญสร้าง
เนียมประดิษฐ์ได้รับคัดเลือกให้ดำรงตำแหน่งผู้บัญชาการกองกำลังของคณะผู้บริหารในการถ่ายโอนอำนาจแห่งสหประชาชาติในติมอร์ตะวันออก
(UNTAET) นอกจากนั้น ได้แสดงท่าทีสนับสนุนการขยายจำนวนสมาชิกคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ
(Security Council) ทั้งประเภทถาวรและไม่ถาวรบนพื้นฐานของการมีตัวแทนที่เท่าเทียมกันในแต่ละภูมิภาค
สำหรับการสัมมนาโต๊ะกลม
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของไทยได้กล่าวถึงปัญหาการผูกขาดการค้าทรัพยากรต่าง
ๆ เช่น เทคโนโลยีและน้ำมัน ว่า ราคาน้ำมันโลกที่เพิ่มสูงขึ้นได้ส่งผลกระทบต่อชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชนและเศรษฐกิจโลกเป็นอย่างมาก
โดยเฉพาะกับประเทศที่อยู่ในช่วงฟื้นฟูเศรษฐกิจ ไทยจึงประสงค์จะให้ที่ประชุมสุดยอดครั้งนี้ส่งสัญญาณร่วมกันถึงความจำเป็นที่จะต้องแก้ไขปัญหาราคาน้ำมันดังกล่าว
ที่ประชุมได้รับรองร่างข้อมติ
United Nations Millennium Declaration โดยฉันทามติ ปฏิญญาดังกล่าวเน้น
คน เป็นศูนย์กลางการพัฒนา โดยกำหนดเป้าหมายสำคัญ ๔ ประการคือ
การส่งเสริมสันติภาพและความมั่นคง การส่งเสริมประชาธิปไตยและการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน
การพัฒนา การลดความยากจนและการคุ้มครองสิ่งแวดล้อม และการปฏิรูปสหประชาชาติ
ปฏิญญาดังกล่าวเป็นการแสดงข้อผูกพันทางการเมือง (Political Commitment)
ของประเทศสมาชิกในระดับสูงร่วมกันที่จะนำเป้าหมายที่กำหนดในปฏิญญามาปฏิบัติให้เกิดผลอย่างเป็นรูปธรรม
และสะท้อนให้เห็นว่าประเทศสมาชิกมุ่งมั่นที่จะสนับสนุนองค์การสหประชาชาติในฐานะที่เป็นสถาบันที่จำเป็นของมนุษยชาติในการที่จะผลักดันมวลมนุษย์ชาติไปสู่สันติภาพ ตุลาคม ร่วมมือ การพัฒนาทำให้ประชาชนมีความกินดีอยู่ดี ไม่มีโรคภัยไข้เจ็บ ตุลาคม มุ่งมั่นร่วมกันเช่นนี้เป็นสิ่งที่น่ายินดี เพราะไม่อาจเกิดขึ้นได้ง่ายในยุคสงครามเย็นซึ่งโลกแบ่งออกเป็นขั้ว
ด้วยเหตุผลทางอุดมการณ์อย่างชัดเจน ทำให้การเห็นพ้องต้องกันในเรื่องใดเรื่องก็เป็นไปได้ยาก
ที่ประชุม
Millennium Summit ได้ขอให้ที่ประชุมสมัชชาฯ ทบทวนปฏิบัติการต่าง
ๆ ตุลาคม ปฏิญญาและขอให้เลขาธิการสหประชาชาติมีรายงานเสนอต่อที่ประชุมสมัชชาฯ
เป็นระยะ ๆ เพื่อใช้เป็นพื้นฐานของการดำเนินการขั้นต่อไป ซึ่งประธานสมัชชาฯ
ได้รับที่จะติดตามผล และรักษา momentum และ Spirit ของการประชุม
Millennium Summit ให้คงอยู่โดยได้เสนอแนวทางการดำเนินงานเพื่อเป็นพื้นฐานในการหารือต่อไป
กรมองค์การระหว่างประเทศและคณะกรรมการประสานงานสหประชาชาติ
--------------------------------------------------------------------------------
กรมองค์การระหว่างประเทศ
กระทรวงการต่างประเทศ ตุลาคม ีหน้าที่รับผิดชอบดูแลเกี่ยวกับนโยบายของไทยในกรอบพหุภาคี
และกรอบสหประชาชาติ อย่างไรก็ดี โดยที่ขอบข่ายงานด้านนี้มีสาระ
ครอบคลุมงานในสาขาเฉพาะต่าง ๆ ตุลาคม ากมาย และเพื่อให้การดำเนินนโยบายของไทยในกรอบสหประชาชาติตอบสนองต่อผลประโยชน์ของชาติให้ได้มากที่สุด
จึงได้มีการเสนอให้คณะรัฐมนตรีแต่งตั้งคณะกรรมการประสานงานด้านสหประชาชาติ
องค์การระหว่างประเทศอื่นๆ และองค์การต่างประเทศ ขึ้นเมื่อวันที่
๒๒ ตุลาคม ิถุนายน ๒๕๒๕ ประกอบด้วยกรรมการจากส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง
โดยมีปลัดกระทรวงการต่างประเทศเป็นประธาน อธิบดีกรมองค์การระหว่างประเทศเป็นรองประธาน
และกรมองค์การระหว่างประเทศทำหน้าที่เป็นฝ่ายเลขานุการ คณะกรรมการชุดนี้มีหน้าที่ในการให้ข้อมูล
ประสานนโยบาย และกำหนดท่าทีของไทยสำหรับการประชุมในองค์การระหว่างประเทศ
ซึ่งกรมองค์การระหว่างประเทศจะหารือร่วมกับคณะกรรมการประสานงานฯ
เพื่อกำหนดท่าทีไทยสำหรับการประชุมสมัชชาสหประชาชาติสมัยสามัญ
ซึ่งมีขึ้นเป็นประจำทุกปี ณ นครนิวยอร์ก ระหว่างเดือนกันยายนถึงธันวาคม
วันพัฒนาข้อมูลข่าวสารโลก